วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

แก้ปวดฟันด้วยวิธีธรรมชาติ




อาการปวดฟัน (Toothaches) ส่วนใหญ่มีผลมาจากฟันผุ ซึ่งในระยะเริ่มแรกจะมีลักษณะเสียวฟัน ก่อนที่อาการปวดจะลามไปที่บริเวณใต้คางและศีรษะต่อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อกินของเย็น ของร้อน หรือของหวาน เพราะจะเป็นการกระตุ้นให้แบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในช่องปาก ปล่อยกรดออกมาทำลายเคลือบฟัน และชอนไชเข้าไปจนถึงเนื้อเยื่อส่วนที่นิ่มภายใน ซึ่งมีเส้นเลือดฝอยจำนวนมาก บวกกับในโพรงประสาทฟันมีเนื้อที่จำกัด จึงทำให้เกิดการอักเสบและบวม


เมื่อเกิดอาการบวม จะทำให้เส้นประสาทถูกกด รวมทั้งเกิดการปิดกั้นช่องทางเปิดปลายรากฟัน ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก จึงไม่สามารถนำออกซิเจนมาเลี้ยงฟันได้ จนทำให้เกิดอาการปวดฟันที่รุนแรง และในที่สุดเนื้อฟันก็จะตาย เมื่อถึงตอนนั้นอาการปวดก็จะหายไป อย่างไรก็ตาม ถ้าเป็นหนองบริเวณปลายรากฟันอาการปวดอาจกลับมาอีก แต่ลักษณะการปวดจะเป็นแบบตื้อๆ และสามารถระบุตำแหน่งได้ชัดเจนขึ้น

นอกจากนี้ อาการปวดฟันอาจเกิดจากวัสดุอุดฟันหลุดไป ฟันร้าวหรือแตกจนถึงชั้นเนื้อฟันและโพรงประสาทฟัน การนอนกัดฟัน (bruxism) ปวดเนื่องจากมีฟันคุด และเหงือกอักเสบ (gingivitis) ซึ่งจะทำให้เหงือกร่น และรากฟันบางส่วนโผล่ขึ้นมา ส่งผลให้เกิดอาการเสียวฟันและปวดฟันได้ แต่บางคนที่มีสุขภาพฟันดี ก็อาจมีความไวมากเป็นพิเศษ ต่อของร้อนหรือของเย็นได้

วิธีลดอาการปวดฟัน

ถ้าคุณอยากหายทรมานจากอาการปวดฟันแล้วล่ะก็ ลองปฏิบัติตามคำแนะนำง่ายๆ ต่อไปนี้ดูสิคะ

1. เมื่อมีอาการปวดฟัน ให้ประคบด้านข้างของใบหน้าซีกที่ปวดฟันด้วยน้ำอุ่น

2. ในกรณีที่อาการปวดฟันมีลักษณะปวดตุบๆ ที่อาจเกิดจากการติดเชื้อ ให้ประคบที่ด้านข้างของใบหน้าด้วยน้ำแข็งประมาณ 5-10 นาที ทุกๆ ครึ่งชั่วโมง ความเย็นจะช่วยลดทั้งอาการปวดและบวม

3. ถ้ามีอาการเสียวฟันง่าย ให้ใช้โซดาไฟ หรือแปรงฟันด้วยยาสีฟันสูตรสำหรับแก้เสียวฟัน

4. เมื่อต้องอยู่ในที่ที่อากาศเย็น หรือในช่วงฤดูหนาว สามารถป้องกันอาการเสียวฟัน หรืออาการปวดฟันจากอากาศเย็นได้ โดยปิดปากด้วยผ้าพันคอ

5. เลี่ยงอาหารที่ร้อนจัด เย็นจัด และหวานจัด โดยเฉพาะชา กาแฟ และไอศกรีม เพราะจะยิ่งกระตุ้นให้มีอาการ งดอาหารที่แข็งจนต้องใช้วิธีกัดกิน เช่น แครอท แอปเปิ้ล ฝรั่ง ที่ยังไม่สุก เพราะการขบกัดฟันแรงๆ กับวัตถุแข็งๆ จะกระตุ้นให้เกิดอาการปวดฟัน และในกรณีที่อุดฟัน ควรหลีกเลี่ยงการเคี้ยวหมากฝรั่ง เพราะจะทำให้สารที่อุดฟันไว้ หลุดออกมาง่ายขึ้น

นวดกดจุด ลดอาการปวด

หลายคนคงคุ้นเคยกับการนวดกดจุดตามร่างกาย ทั้งฝ่าเท้า ฝ่ามือ และศีรษะดีแล้วใช่ไหมคะ คราวนี้เราลองมานวดกดจุด เพื่อบรรเทาอาการปวดฟันกันดีกว่า


1. นวดคลึงเบาๆ ที่แก้มบริเวณเหนือฟันที่ปวด จะช่วยบรรเทาอาการปวดได้ชั่วคราว

2. ใช้น้ำแข็งก้อนเล็กๆ กดและถูบริเวณง่ามมือ ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ หรือใช้มืออีกข้างนวดบริเวณเดียวกันนี้ จะช่วยลดอาการปวดฟันได้ชั่วคราว

3. สำหรับคนที่ปวดบริเวณกรามล่าง ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือนวดบริเวณกระดูกขากรรไกรที่รองรับฟันล่าง ส่วนคนที่ปวดบริเวณกรามบน ให้วางนิ้วหัวแม่มือตรงบริเวณส่วนกลางของหู แล้วลากนิ้วไปทางด้านหน้า จนกระทั่งถึงรอยบุ๋มใต้กระดูกประมาณ 1 นิ้วบริเวณหน้าใบหู จากนั้นกดแรงๆ ประมาณ 10 นาที

สมุนไพรบรรเทาปวด

บางคนพึ่งยาสารพัดชนิด ทั้งกิน ทั้งทา แต่พอหมดฤทธิ์ยาแล้ว อาการปวดฟันก็กลับมาสำแดงเดชอีกครั้ง ลองมาสยบอาการปวด ด้วยฤทธิ์ยาทางธรรมชาติของสมุนไพรเหล่านี้ดีกว่าค่ะ

• ว่านหางจระเข้ มีสรรพคุณในการทำลายเชื้อโรค และสลายพิษ (Neutralization) ของเชื้อโรค โดยหั่นว่านหางจระเข้เป็นชิ้นๆ ความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร เหน็บไว้ที่ซอกฟัน ใช้ฟันขบให้อยู่บริเวณที่ปวด หรือใช้ไม้พันสำลีจุ่มน้ำวุ้นว่านหางจระเข้ ป้ายตรงบริเวณที่ปวด จะช่วยบรรเทาอาการได้ชั่วคราว
• น้ำมันละหุ่ง ทาน้ำมันละหุ่งบริเวณแก้มข้างที่ปวดฟัน และใช้พลาสเตอร์ยาปิดไว้ แล้วใช้ผ้าขนหนูอุ่นๆ หรือแผ่นประคบบริเวณที่มีอาการปวด จากนั้นนอนพักอย่างน้อย 20 นาที น้ำมันละหุ่งมีสรรพคุณในการระงับปวดได้ดี โดยจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ที่ไปคั่งอยู่กับเชื้อจุลินทรีย์ ในกรณีที่เกิดการติดเชื้อ หรือกับสารที่ทำให้เกิดอาการปวด เช่น ไซโตไคเนส (cytokines) ในกรณีที่ปวดรากฟัน
• น้ำมันกานพลู มีสรรพคุณในการรักษาอาการปวดฟันได้ดีที่สุดชนิดหนึ่ง บางครั้งหมอฟันจะใช้น้ำมันกานพลูแทนยาที่มีฤทธิ์แรงกว่า เช่น Novocain โดยทาน้ำมันกานพลูบริเวณที่ปวดในช่องปากได้โดยตรง (หากน้ำมันกานพลูเข้มข้นเกินไป อาจทำให้เจือจางด้วยการผสมน้ำมันมะกอก) นอกจากนี้ อาจใช้วิธีอมกานพลูทั้งชิ้นไว้ในปากบริเวณที่ปวดก็ได้ จะทำให้รู้สึกชาอย่างรวดเร็ว และอยู่นานกว่า 90 นาที หรือนำดอกกานพลูมาทุบแช่น้ำเหล้าขาว แล้วใช้สำลีอุดฟันซี่ที่ปวด
• น้ำมันกระเทียม ใช้สำลีชุบน้ำมันกระเทียมทาบริเวณที่ปวดฟัน จะช่วยบรรเทาอาการปวดได้เหมือนกัน
• ดาวเรือง ใช้ดอกแห้งประมาณ 7-8 ดอก ต้มกับน้ำสะอาดในประมาณที่พอเหมาะ ดื่มเป็นน้ำสมุนไพรทั้งวัน เพื่อแก้อาการปวดฟัน
• ผักบุ้งนา นำรากสดของผักบุ้งนาประมาณ 10 กรัม ตำให้ละเอียดแล้วคั้นเอาแต่น้ำ ผสมกับน้ำส้มสายชู อมไว้ประมาณ 5 นาที แล้วบ้วนออกด้วยน้ำสะอาด
• มะระ นำรากสดของมะระมาตำพอแหลก แล้วพอกฟันซี่ที่ปวด โดยใช้ลิ้นกดไว้สักครู่ใหญ่ๆ
• กุยช่าย ในกรณีที่ปวดฟันเพราะแมงกิน ฟัน ให้นำเมล็ดกุยช่ายมาคั่วให้เกรียมดำ จากนั้นนำมาบดให้ละเอียด ละลายน้ำมันยางแล้วชุบสำลี ยัดในฟันที่เป็นรูโพรง ทิ้งไว้ 1 คืน จะสามารถฆ่าตัวแมงที่กินฟันได้

Tip
• เมื่อใช้ยาสมุนไพรจนอาการปวดฟันบรรเทาแล้ว ควรไปพบทันตแพทย์

• ไม่ควรใช้ยาแอสไพรินบดอุดบริเวณฟันที่ปวด เพราะจะทำให้เกิดแผลไหม้ที่เหงือก และเป็นอันตรายต่อเคลือบฟันได้

• ถ้ามีอาการปวดบวมเมื่อเคี้ยวอาหาร หรือเหงือกแดงผิดปกติ มีเลือดออก แสดงว่าติดเชื้อ หรือถ้าปวดฟันและมีไข้ร่วมด้วย ควรรีบไปพบแพทย์โดยด่วน

วันอังคารที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

coco chanel









โกโก หรือ กาเบรียล ชาแนล (Gabrielle Bonheur "Coco" Chanel) (19 สิงหาคม พ.ศ. 2426-10 มกราคม พ.ศ. 2514[1]) เป็นนักออกแบบเสื้อผ้า เครื่องแต่งกายและเครื่องประทินความงามชาวฝรั่งเศส เป็นตัวอย่างนักแฟชั่นในศตวรรษที่ 20 และเป็นผู้ก่อตั้งผลิตภัณฑ์ ชาแนล ของฝรั่งเศสเดิมชื่อ กาเบรียล บาน่า ชาแนล เมื่อเธอเริ่มโตเกิดปัญหาการเงินในครอบครัวเธอจึงต้องไปร้องเพลงในคาเฟ่เพื่อหาเงินเลี้ยงชีพ วันหนึ่งเธอร้องเพลง กิตาวู โกโก เป็นที่ถูกใจของผู้ฟัง และเรียกร้องให้เธอร้องอีกโดยตะโกนว่า"โกโก ชาแนล" ตั้งแต่บัดนั้นคนก็รู้จักเธอในนาม"โกโก ชาแนล" เธอเริ่มเปิดร้านขายหมวกในปารีสและเริ่มคิดค้นน้ำหอมทั้ง 10 กลิ่นโดยกลิ่นที่เธอชอบและเป็นกลิ่นที่ขายดีที่สุดคือ แชแนลนัมเบอร์ไฟว์ ชาแนลเป็นผู้ริเริ่มให้ผู้หญิงใส่กางเกงเป็นคนแรก และเธอก็คิดค้นสูทของผู้หญิงมีชื่อเรียกว่า ชาแนลสูท สัญลักษณ์ของ ชาแนล คือรูปดอกพุด สีขาว เพราะเป็นดอกไม้ที่ชาแนลชอบนำติดตัวไปในงานโชว์เสื้อของเธอโดยเธอมักจะนำมาทัดไว้ที่ผม

วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Georges de La Tour




Georges de La Tour (March 13, 1593 – January 30, 1652), was a painter, who spent most of his working life in the Duchy of Lorraine, which was temporarily absorbed into France between 1641 and 1648. He painted mostly religious chiaroscuro scenes lit by candlelight. After centuries of posthumous obscurity, during the 20th century he became one of the most highly regarded of French 17th-century Baroque artists.




LifeGeorges de La Tour was born in the town of Vic-sur-Seille in the Diocese of Metz, which was technically part of the Holy Roman Empire, but had been ruled by France since 1552. Baptism documentation reveal that he was the son of Jean de La Tour, a baker, and Sybille de La Tour, née Molian. It has been suggested that Sybille came from a partly noble family.[1] His parents had seven children in all, with Georges being the second-born.




La Tour's educational background remains somewhat unclear, but it is assumed that he travelled either to Italy or the Netherlands early in his career. He may possibly have trained under Jacques Bellange in Nancy, the capital of Lorraine, although their styles are very different. His paintings reflect the Baroque naturalism of Caravaggio, but this probably reached him through the Dutch Caravaggisti of the Utrecht School and other Northern (French and Dutch) contemporaries. In particular, La Tour is often compared to the Dutch painter Hendrick Terbrugghen.[2]



In 1617 he married Diane Le Nerf, from a minor noble family, and in 1620 he established his studio in her quiet provincial home-town of Lunéville, part of the independent Duchy of Lorraine which was absorbed into France, during his lifetime, in 1641. He painted mainly religious and some genre scenes. He was given the title "Painter to the King" (of France) in 1638, and he also worked for the Dukes of Lorraine in 1623–4, but the local bourgeoisie provided his main market, and he achieved a certain affluence. He is not recorded in Lunéville in 1639–42, and may have travelled again; Anthony Blunt detected the influence of Gerrit van Honthorst in his paintings after this point. He was involved in a Franciscan-led religious revival in Lorraine, and over the course of his career he moved to painting almost entirely religious subjects, but in treatments with influence from genre painting.[2]
Georges de la Tour and his family died in 1652 in an epidemic in Lunéville. His son Étienne (born 1621) was his pupil

His early work shows influences from Caravaggio, probably via his Dutch followers, and the genre scenes of cheats—as in The Fortune Teller —and fighting beggars clearly derive from the Dutch Caravaggisti, and probably also his fellow-Lorrainer, Jacques Bellange. These are believed to date from relatively early in his career.




La Tour is best known for the nocturnal light effects which he developed much further than his artistic predecessors had done, and transferred their use in the genre subjects in the paintings of the Dutch Caravaggisti to religious painting in his. Unlike Caravaggio his religious paintings lack dramatic effects. He painted these in a second phase of his style, perhaps beginning in the 1640s, using chiaroscuro, careful geometrical compositions, and very simplified painting of forms. His work moves during his career towards greater simplicity and stillness—taking from Caravaggio very different qualities than Jusepe de Ribera and his Tenebrist followers did.[2]



He often painted several variations on the same subjects, and his surviving output is relatively small. His son Étienne was his pupil, and distinguishing between their work in versions of La Tour's compositions is difficult. The version of the Education of the Virgin, in the Frick Collection in New York is an example, as the Museum itself admits. Another group of paintings (example left), of great skill but claimed to be different in style to those of La Tour, have been attributed to an unknown "Hurdy-gurdy Master". All show older male figures (one group in Malibu includes a female), mostly solitary, either beggars or saints.[3]



After his death at Lunéville in 1652, La Tour's work was forgotten until rediscovered by Hermann Voss, a German scholar, in 1915; some of La Tour's work had in fact been confused with Vermeer, when the Dutch artist underwent his own rediscovery in the nineteenth century. In 1935 an exhibition in Paris began the revival in interest among a wider public. In the twentieth century a number of his works were identified once more, and forgers tried to help meet the new demand; many aspects of his œuvre remain controversial among art historians.





Works

His early work shows influences from Caravaggio, probably via his Dutch followers, and the genre scenes of cheats—as in The Fortune Teller —and fighting beggars clearly derive from the Dutch Caravaggisti, and probably also his fellow-Lorrainer, Jacques Bellange. These are believed to date from relatively early in his career.




La Tour is best known for the nocturnal light effects which he developed much further than his artistic predecessors had done, and transferred their use in the genre subjects in the paintings of the Dutch Caravaggisti to religious painting in his. Unlike Caravaggio his religious paintings lack dramatic effects. He painted these in a second phase of his style, perhaps beginning in the 1640s, using chiaroscuro, careful geometrical compositions, and very simplified painting of forms. His work moves during his career towards greater simplicity and stillness—taking from Caravaggio very different qualities than Jusepe de Ribera and his Tenebrist followers did.[2]



He often painted several variations on the same subjects, and his surviving output is relatively small. His son Étienne was his pupil, and distinguishing between their work in versions of La Tour's compositions is difficult. The version of the Education of the Virgin, in the Frick Collection in New York is an example, as the Museum itself admits. Another group of paintings (example left), of great skill but claimed to be different in style to those of La Tour, have been attributed to an unknown "Hurdy-gurdy Master". All show older male figures (one group in Malibu includes a female), mostly solitary, either beggars or saints.[3]



After his death at Lunéville in 1652, La Tour's work was forgotten until rediscovered by Hermann Voss, a German scholar, in 1915; some of La Tour's work had in fact been confused with Vermeer, when the Dutch artist underwent his own rediscovery in the nineteenth century. In 1935 an exhibition in Paris began the revival in interest among a wider public. In the twentieth century a number of his works were identified once more, and forgers tried to help meet the new demand; many aspects of his œuvre remain controversial among art historians.